วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

คำถามท้ายหน่วยการเรียนที่ 8

1. ให้ผู้เรียนตอบคำถามต่อไปนี้ โดยเขียนตามความเข้าใจของผู้เรียน
1.1 การนำเสนอผลงานมีวัถตุประสงค์อย่างไร
ตอบ  1. ให้ผู้ชมเข้าใจสาระสำคัญของการนำเสนองาน
          2.ให้ผู้ชมเกิดความประทับใจ ซึ่งจะนำไปสู่ความเชื่อถือในผลงานที่นำเสนอ

1.2 หลักการพื้นฐานสำคัญของการนำเสนอผลงานมีอะไรบ้าง
ตอบ 1. การดึงดูดความสนใจ
        2.ความชัดเจนและความกระชับของเนื้อหา
        3.ความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย

1.3การบรรยายสดกับการพากย์มีข้อพิจารณาในการเลือกใช้ต่างกันอย่างไร
ตอบ การบรรยายสดเหมาะสำหรับการประชุมสัมนา  เพื่อให้ผู้ฟังมีส่วนร่วม และมีการสร้างบรรยกาศให้เหมาะสมกับช่วงเวลาอารมณ์ที่จะพูด
         ส่วนการพากย์ เหมาะสำหรับการถ่ายทอดโดยไม่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วม อาจมีการพากย์เสียงที่ไพเราะ และเติมเสียงประกอบ เพื่อสร้างบรรยากาศ

1.4 เครื่องมือที่ใช้ในการนำเสนอผลงานที่ใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง
ตอบ 1. เครื่องฉายสไลด์
        2. เครื่องฉายแผ่นใส
        3. เครื่องฉาย Data Projector หรือ LCD Projector

1.5รูปแบบที่ใช้ในการนำเสนอผลงานที่ใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง
ตอบ 1. การนำเสนอแบบ Slide Presentation มีดังต่อไปนี้ คือ
1.1 โดยใช้โปรแกรม Power Point
1.2 โดยใช้โปรแกรม ProShow Gole
1.3 โปรแกรม Flip Album

2. รูปแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI Assisted Insturction) มีดังต่อไปนี้
2.1 การใช้โปรแกรม Authorware
2.2การใช้ระบบจัดการเรียนการสอนในระบบออนไลน์ Moodle

3.รูปแบบ Social Network มีดังต่อไปนี้
3.1 การใช้เว็บบล็อก (Weblog) เพื่อการเรียนการสอน
3.2 การนำเสนอแบบ Web page
3.3 Word press
คำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่7

1.จงอธิบายเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบต่างๆ ว่ามีกี่ประเภท
ตอบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบต่างๆ มี 4 ประเภท ดังต่อไปนี้
1.อินทราเน็ต (Intranet) คือเป็นเครือข่ายสำหรับองค์กร  และข้อมูลส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร
2.เอกซ์ทราเน็ต (Extranet) คือ เป็นเครือข่ายแบบองค์กรเหมือนกับ อินทราเน็ต แต่เปิดให้สมาชิกภายนอกที่ได้รับอนุญาตเชื่อมต่กับเครือข่ายได้ เช่น บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด
3.อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มีเจ้าของ ทุกคนที่อยากจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายสามารถเชื่อมต่อได้ แต่ต้องปฏิบัติตามกฏกติกาที่ได้มีการกำหนดไว้
4.รูปแบบของข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอรืประเภทต่างๆ เป็นเครือข่ายที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์  ดังนั้น รูปแบบของการนำเสนอข้อมูลและการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจึงอาจแตกต่ากันได้

2.อินทราเน็ต (Intranet) หมายความว่าอย่างไร
ตอบ คือเป็นเครือข่ายสำหรับองค์กร  และข้อมูลส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลเกี่ยวกับองค์กร หรือ ข้อมูลเพื่อใช้ประโยชน์ขององค์กร คอมพิวเตอร์ที่ใช้อาจอยูในตึกเดียวกัน หรือกระจายอยู่ทั่วประเทศ เช่น บริษัท โตโยต้า จำกัด ที่มีสาขากระจายอยูอยู่ทั่วประเทศและทั่วโลก

3.จงยกตัวอย่างแหล่งข้อมูลการสืบค้นบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ตอบ http;//www.google.com
        http://www.altavista.com
        http://www.excite.com
        http://www.yahoo.com เป็นต้น

4.จงอธิบายวิธีการสืบค้นข้อมูลจากเว็บไซค์Google พอสังเขป
ตอบ ให้พิมพ์คำที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ต้องการค้นหาเพียง 2-3 คำ แล้งกดแป้น Enter หรือคลิกที่ปุ่ม Go ก็จะแสดงเว็บเพจที่ค้นพบ โปรแกรมการค้นหาของ Google จะแสดงเฉพาะเว็บเพจที่มีคำทุกคำที่ท่านได้พิมพ์ลงไป ถ้าเราใส่คำค้นหามากขึ้น จำนวนเว็บเพจที่เราต้องการก็จะลดลง

5.Digital library หมายความว่าอย่างไร
ตอบ การจัดเก็บสารสนเทศในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แทนที่จะเก็บในรูปของสื่อพิมพ์  เพราะการค้นหาจะได้ง่ายมากขึ้น อย่างที่เราต้องการอ่านหนึ่งสือหนึ่งเล่ม แต่ไม่มีเวลาที่จะไปที่ห้องสมุด ถ้าเรามีรหัส เราสามารถที่จะเข้าถึงระบบฐานข้อมูลของห้องสมุดนั้นได้ แล้วเราก็สามารถที่จะอ่านหนังสือเล่มที่เราต้องการได้บนแท็ปเล็ต หรืคอมพิวเตอร์ โดยไม่ต้องถือหนังสือเป็นเล่ม แต่การอ่านหนังสือแบบดิจิทัลนั้น จะต้องมีสือตัวกลางในการเชื่อมต่อ คือ อินเทอร์เน็ต 

6.จงยกตัวอย่างแหล่งข้อมูลเว็บไซต์ประเภทของการศึกษา
ตอบ 1.เว็บไซค์โครงการ Schoolinet@1509(http://www.school.net.th)
        2.เว็บไซค์ Learn Online (http://www.learn.in.th)

คำถามท้ายหน่วยการเรียนที่ 6


1.อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายความว่าอย่างไร
ตอบ Internet คือ ระบบเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกันโดยใช้ Protocol มาตรฐานสำหรับ Internet (IP) เพื่อบริการข้อมูลแก่ผู้ใช้จำนวนหลายพันล้านคนทั่วโลก เป็นเครือข่ายของเครือข่ายทั้งหลาย หรือ เรียกว่า Network of Network

2.จงอธิบายความสำคัญของอินเทอร์เน็ตทางด้านการศึกษาว่ามีอะไรบ้าง
ตอบ 1.สามารถใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลด้านการบันเทิง ด้านการแพทย์และอื่นๆ ที่น่าสนใจ
2.ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะทำหน้าที่เปรียบเทียบเสมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่
3.นักศึกษาสามารถใช้อินเทอร์เน็ตติดต่อกับมหาวิทยาลัยหรือโรงเรียนอื่นๆ เพื่อค้นหาข้อมูลที่กำลังศึกษษอยู่ได้ ทั้งข้อมูลที่เป็นข้อความเสียง ภาพเคลื่อนไหวต่างๆ

3.จงบอกประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ตอบ ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตมีประโยชน์หลายด้าน และมีประโยชน์ต่อบคคลทุกคนที่ใช้บริการ อาทิ การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อสืบค้นข้อมูล เพื่อการศึกษาหรือเพื่อเป็นข้อมูลในการทำงานด้านต่าง การใช้อินเทอร์เพื่อการสื่อสาร เช่นการส่งอีเมล์ การสนทนาการบนออนไลน์โดยมีอินเทอร์เน็ตเป็นตัวเชื่อม หรือใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง ในการดูหนัง ฟังเพลง เป็นต้น

4.การติดต่อโดยใช้สายโทรศัพท์ผ่านอุปกรณ์ Modem หมายความว่าอย่างไร
ตอบ เป้นการส่งเอสไอพีที่เราเป็นสมาชิกอยู่โมเดม คือ อุปกรณ์แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณโทรศัพท์ และแปลงสัญญาณโทรศัพท์ให้เป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการแปลงสัญญาณดิจิทัลจากคอมพิวเตอร์เป็นสัญญาณอนาล็อกผ่านสายโทรศัพท์ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง และยังสามารถเปลี่ยนจากอนาล็อกเป็นดิจิทัลได้

5. ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต www มีประโยชน์อย่างไร
ตอบ เป็นบริการระบบเครือข่ายข่าสารที่มีข้อมูลอยู่ทุกแห่งในโลก ซึ่งข้อมูลต่างๆ เหล่านั้น สามารถอยู่ในรูปแบบแตกต่างกัน เช่น เอกสาร รูปภาพเคลื่อนไหว และเสียง เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้สามารถเชื่อมโยงเป็นระบบและสืบค้นได้ง่าย

6. จงยกตัวอย่างประโยชน์ของ E-mail
ตอบ 1.เป็นบริการรับส่งข้อมูลจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรืออีเมล์  ที่มีข้อมูลเป็น เอกสารสำคัญ รูปภาพ เสียง หรืออื่นๆ และสามารส่งได้อย่างรวดเร็ว

วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557


ประวัติของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์



คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้รีเลย์หรือวาล์ว เริ่มปรากฏให้เห็นในช่วงต้นปี 1940s เครื่องกลไฟฟ้า Zuse Z3, เสร็จสมบูรณ์ใน ปี 1941, เป็นคอมพิวเตอร์ที่โปรแกรมได้เครื่องแรกของโลก และตามมาตรฐานที่ทันสมัย เป็น​​หนึ่งในเครื่องแรกที่อาจถูกพิจารณาว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์แบบเครื่องหนึ่ง เครื่อง Colossus, ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเพื่อถอดรหัสข้อความภาษาเยอรมัน, เป็นคอมพิวเตอร์ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ตัวแรก แม้ว่ามันจะโปรแกรมได้ มันก็ไม่ได้ถูกใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป มันถูกออกแบบมาเพื่อทำงานเพียงงานเดียว มันยังขาดความสามารถในการจัดเก็บโปรแกรมในหน่วยความจำอีกด้วย การเขียนโปรแกรม สามารถทำได้โดยใช้ปลั๊กและสวิทช์เพื่อเปลี่ยนแปลงการเดินสายไฟภายใน[11] คอมพิวเตอร์ที่เก็บโปรแกรมได้แบบดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัยและได้รับการยอมรับตัวแรก คือ Manchester Small-Scale Experimental Machine (SSEM) ซึ่งวิ่ง โปรแกรมแรกในวันที่ 21 มิถุนายน 1948[12]
การพัฒนาของทรานซิสเตอร์ในปลายปี 1940s ที่ ห้องปฏิบัติการ Bell ยอมให้รุ่นใหม่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้รับการออกแบบด้วยการใช้พลังงานที่ลดลงอย่างมาก เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บโปรแกรมได้ที่ใช้ในเชิงพาณิชย์ตัวแรกชื่อ Ferranti Mark I ประกอบด้วย วาล์ว 4,050 ตัวและมี การใช้พลังงาน 25 กิโลวัตต์ เมื่อเปรียบเทียบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ทรานซิสเตอร์ตัวแรก, ที่ถูกพัฒนาขึ้นที่มหาวิทยาลัยแห่งแมนเชสเตอร์และเปิดใช้งานในเดือนพฤศจิกายน ปี 1953, บริโภคพลังงานเพียง 150 วัตต์ในรุ่นสุดท้ายของมัน[13]

http://th.wikipedia.org/wiki/

โครงสร้างพื้นฐาน



โครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นกรอบงานบูรณาการภายใต้เครือข่ายดิจิตอลทำงานอยู่ โครงสร้างพื้นฐานนี้ประกอบด้วย ศูนย์ข้อมูล, เครื่องคอมพิวเตอร์, เครือข่ายคอมพิวเตอร์, อุปกรณ์จัดการฐานข้อมูลและระบบการกำกับดูแล
ในเทคโนโลยีสารสนเทศและบนอินเทอร์เน็ต โครงสร้างพื้นฐานเป็นฮาร์ดแวร์ทางกายภาพที่ถูกใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายตัวและผู้ใช้หลายคน โครงสร้างพื้นฐานประกอบด้วยสื่อการส่งผ่าน, รวมทั้งสายโทรศัพท์, สายเคเบิลทีวี, ดาวเทียมและเสาอากาศ และยังมีเราเตอร์หลายตัว[14] ที่ใช้ถ่ายโอนข้อมูลระหว่างเทคโนโลยีการส่งผ่านทั้งหลายที่แตกต่างกัน
ในการใช้งานบางครั้ง โครงสร้างพื้นฐานหมายถึงการเชื่อมต่อฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ และไม่ติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่นๆที่เชื่อมต่อกัน อย่างไรก็ตาม สำหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศบางคน โครงสร้างพื้นฐานถูกมองว่าเป็นทุกอย่างที่สนับสนุนการไหลและการประมวลผลของข้อมูล
บริษัทโครงสร้างพื้นฐานมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาอินเทอร์เน็ต พวกเขามีอิทธิพลว่าที่ไหนบ้างต้องมีการเชื่อมโยง, ที่ไหนบ้างที่ข้อมูลจะต้องถูกทำให้สามารถเข้าถึงได้ และ จำนวนข้อมูลที่สามารถดำเนินการได้และทำได้รวดเร็วได้อย่างไร

http://th.wikipedia.org/wiki

อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล



คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ระยะแรก เช่น Colossus ใช้เทปเจาะรู(เป็นกระดาษแถบยาวที่ข้อมูล ถูกแทนด้วยชุดของรู) เทคโนโลยีที่ปัจจุบันนี้ล้าสมัยไปแล้ว[16] ที่จัดเก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย, ย้อนหลังไปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง, เมื่อรูปแบบหนึ่งของหน่วยความจำแบบ delay line (เมมโมรีแบบเข้าถึงโดยลำดับ) ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อลบล้างความยุ่งเหยิงจากสัญญาณเรดาร์, การใช้งานในทางปฏิบัติเป็นครั้งแรกเป็น delay line ปรอท[17] อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลดิจิตอลแบบเข้าถึงโดยการสุ่มตัวแรกคือหลอดของ วิลเลียมส์ ที่มีมาตรฐานของหลอดรังสีแคโทด,[18] แต่ข้อมูลที่เก็บไว้ในนั้นมีความผันผวน จะ ต้องได้รับการฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องและหายไปเมื่อไฟดับ รูปแบบที่เก่าแก่ที่สุดของตัวจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์โดยไม่ผันผวนคือกลองแม่เหล็ก(อังกฤษmagnetic drum) ที่ถูกคิดค้นใน ปี 1932[19] และถูกใช้ในเครื่อง Ferranti Mark 1 ซึ่งเป็น คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์วัตถุประสงค์ทั่วไปที่ใช้ในเชิงพาณิชย์เครื่องแรกของโลก[20]
ไอบีเอ็มเปิดตัวฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ตัวแรกในปี 1956 เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ 305 RAMAC ของพวกเขา[21] ข้อมูลดิจิตอลส่วนใหญ่ในปัจจุบันจะยังคงถูกเก็บไว้ในรูปสนามแม่เหล็กในฮาร์ดดิสก์ หรือในรูปแสงบนสื่อเช่น ซีดีรอม[22] จนกระทั่งปี 2002 ข้อมูลส่วนใหญ่ ถูกเก็บไว้บนอุปกรณ์แบบแอนะล็อก แต่ในปีเดียวกัน ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลดิจิทัลก็ เกินแอนะล็อกเป็นครั้งแรก ขณะที่ปี 2007 เกือบ 94% ของข้อมูลที่ถูกจัดเก็บทั่วโลกเป็นดิจิทัล[23]: 52% ในฮาร์ดดิสก์, 28% บนอุปกรณ์แสง และ 11% ในเทปแม่เหล็กดิจิทัล คาดว่าความจุทั่วโลกในการจัดเก็บข้อมูลบนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์จะเพิ่มขึ้นจาก น้อยกว่า 3 exabytes ใน 1986 ไปเป็น 295 exabytes ในปี 2007[24] เป็นสองเท่าทุกๆ 3 ปี[25]
http://th.wikipedia.org